สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท8/05/2025
ผู้เข้าชม5770244
แสดงหน้า8039750
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
May 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
    
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน

อ่าน 164768 | ตอบ 1341

การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน (ตอนที่ 1)

 
 ( 3 Votes )

ท่านที่ได้ติดตามข่าวกีฬาเมื่อสัปดาห์ที่แล้วคงทราบดีว่า มีการเสียชีวิตของนักกีฬาเทนนิส ระดับเยาวชน ที่กำลังแข่งขันกันในรายการ 'ดันลอป – ลอนเทนนิสพัฒนาฝีมือสร้างชื่อทีมชาติ รอบมาสเตอร์ ประจำปี 2552' เกิดขึ้นในสนามของศูนย์พัฒนากีฬาเทนนิสแห่งชาติ เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2552 นับเป็นข่าวใหญ่ในแวดวงกีฬาเทนนิส และวงการกีฬาอื่นๆ ที่เราอาจนำมาเป็นข้อคิดหรือเป็นบทเรียนได้ในหลายมุมมองด้วยกัน ซึ่งผมหวังว่าผู้ที่อยู่ในแวดวงกีฬา ตั้งแต่นักกีฬา ผู้ตัดสิน ฝ่ายจัดการแข่งขัน สมาคมกีฬาต่างๆ ตลอดจนการกีฬาแห่งประเทศไทย น่าที่อาศัยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้นำมาทบทวนว่า ในปีใหม่ 2553 นี้ เราจะมีข้อแนะนำอะไร สำหรับการเตรียมเผชิญกับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นกับการแข่งขันกีฬาอะไรก็ได้ในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแข่งขันกีฬาที่ต้องใช้พละกำลังค่อนข้างมาก

สาเหตุการเสียชีวิต

ก่อนอื่นผม และทีมข่าวกีฬา นสพ.เดลินิวส์ต้องขอแสดงความเสียใจต่อครอบครัวของน้องนอร์ท วรปรัชญ์ ลิ่วศรีสกุล นักกีฬาเทนนิสวัย 15 ปี ผมได้มีโอกาสพูดคุยทางโทรศัพท์กับบิดาของน้องนอร์ท คือ นพ.เฉลิม ลิ่วศรีสกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหืดหอบ ถึงสาเหตุการเสียชีวิตอย่างกระทันหันว่าน่าจะเกิดจากเรื่องหัวใจเพราะหมดสติล้มลง ในขณะที่ที่กำลังแข่งขันในเซตที่สอง และขณะล้มลงหมดสตินั้นก็เป็นขณะที่กำลังเดินเพื่อที่จะทำการเสิร์ฟที่ท้ายคอร์ต ซึ่งน้องนอร์ทเป็นนักเทนนิสที่มีฝีมือ มีการฝึกซ้อมเป็นอย่างดีมาตลอด เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นน่าจะเป็นจากการที่หัวใจหยุดเต้นทันที ซึ่งในภาษาทางการแพทย์เรียกว่า Sudden Cardiac Arrest ซึ่งต่อมาทำให้เกิดการเสียชีวิตที่เรียกว่าSudden Cardiac Deat

ในตำราแพทย์ของฟีฟ่า (Football Medicine Manual) ได้กล่าวถึงสาเหตุการเสียชีวิตในนักกีฬาทั่วๆ ไป ที่มีการฝึกซ้อมกันเป็นประจำว่าให้นึกถึงสาเหตุดังต่อไปนี้

  1. นักกีฬาที่มีอายุน้อยกว่า 35 ปี สาเหตุน่าจะเป็นจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจที่หนาตัวขึ้น (Hypertrophic Cardiomyopathy) มาก่อนหน้านี้อยู่แล้ว เมื่อออกแรงมากขึ้น การทำงานของหัวใจล้มเหลวลง ทำให้หัวใจไม่สามารถเต้นหรือบีบตัวได้ตามปกติ
  2. หากนักกีฬาที่มีอายุมากกว่า 35 ปี สาเหตุน่าจะเป็นจากภาวะที่ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน เมื่ออกแรงมากขึ้น หัวใจต้องทำงานมากขึ้นเพื่อนำเลือดที่มีสารอาหาร และอ๊อกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ มากขึ้น ในขณะเดียวกันหลอดเลือดที่มาเลี้ยงหัวใจเองมีการตีบตัน ไม่สามารถนำสารอาหารหรืออ๊อกซิเจนมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้เพียงพอ การทำงานของหัวใจก็จะล้มเหลวลงได้

สถิติในต่างประเทศ

สถิติการเสียชีวิตเช่นนี้มีรายงานเอาไว้ว่า อาจเกิดได้ 1 ใน 200,000 ราย ในกลุ่มของนักกีฬาที่มีการฝึกซ้อมอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้ว สำหรับในสหรัฐอเมริกา 15 ปีที่แล้ว ได้มีการศึกษาในกรณีการเสียชีวิตอย่างกระทันหันของนักกีฬาจำนวน 158 ราย อายุเฉลี่ย 17 ปี ผิวขาว 52% ผิวดำ 48% ส่วนใหญ่เล่นกีฬาบาสเก็ตบอล และอเมริกันฟุตบอล และมักจะเกิดขึ้นขณะทำการฝึกซ้อมช่วงระหว่าง 15.00 น. – 21.00 น. สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากการที่หัวใจมีกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวมีอยู่ 36% ซึ่งในกลุ่มที่เสียชีวิตนี้ พบว่ามีการตรวจร่างกาย (Medical Check-Up) ก่อนเข้าร่วมการแข่งขัน (Pre – Participation) และพบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับโรคหัวใจอยู่เพียง 3% เท่านั้น ซึ่งผู้ทำการวิจัยให้ความเห็นเป็นข้อสรุปว่าจะต้องมีการปรับปรุงการตรวจร่างกายก่อนเข้าร่วมแข่งขันให้มีความไวในการตรวจหาความผิดปกติเกี่ยวกับโรคหัวใจให้ได้ดีขึ้น

การศึกษาวิจัยในอิตาลีที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

มีการศึกษาในนักกีฬาจำนวน 33,725 ราย ที่ได้รับการตรวจร่างกายจากแพทย์ซักประวัติการเจ็บป่วยที่ร้ายแรงในครอบครัว และมีการตรวจคลื่นหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงที่เรียกว่า Echo Cardiography การทำ exercise stress test (วิ่งสายพาน และทำคลื่นไฟฟ้าหัวใจ) และการนำเครื่องบันทึกการทำงานของหัวใจติดตัวตลอด 24 ชั่วโมง มีการติดตามผลอยู่ 7 ปี และพบว่ามีการเสียชีวิตจากเรื่องหัวใจอยู่ 49 ราย อายุเฉลี่ยประมาณ 23 ปี และสาเหตุส่วนใหญ่จะเป็นการเต้นของหัวใจผิดปกติ ซึ่งแตกต่างกับที่พบในสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสถิติได้เท่ากับ 1.6 ใน 100,000 นักกีฬา เมื่อเทียบกับที่เกิดขึ้นในประชาชนทั่วไปที่ไม่ใช่นักกีฬา เกิดเพียง 0.8 ใน 100,000 ราย

ต่อมาประเทศอิตาลีจึงได้ออกกฎหมายมาบังคับใช้ว่านักกีฬาที่ต้องเข้าแข่งขันกีฬาที่ต้องใช้พละกำลังอย่างมากในการแข่งขัน (Competitive Sports) จะต้องผ่านการตรวจร่างกายอย่างละเอียดปีละ 1 ครั้ง

สถิติ และกฎระเบียบในประเทศไทย และประเทศอื่นๆ

สำหรับสถิติเกี่ยวกับการเสียชีวิตกระทันหันในประเทศไทย และมีการศึกษาวิจัยจนทราบถึงสาเหตุที่แท้จริงด้วยการผ่าศพพิสูจน์ ผมไม่ทราบว่าจะหาข้อมูลจากที่ใด และสำหรับกฎระเบียบเกี่ยวกับการตรวจร่างกายทางการแพทย์ก่อนการแข่งขันของนักกีฬา (Pre – Participation Medical Check-Up) โดยเฉพาะกีฬาที่ต้องใช้พละกำลังมากๆ เท่าที่ผมทราบยังไม่มีระเบียบในเรื่องนี้ เพราะแม้แต่การแข่งขันฟุตบอลโลกก็เพิ่งจะมีการบังคับให้มีการตรวจอย่างจริงจังเมื่อฟุตบอลโลก 2006 ที่เยอรมัน นักฟุตบอลที่เข้าแข่งขันทุกคนจะต้องผ่านการตรวจจนแน่ใจว่าไม่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอย่างกระทันหันในนักกีฬาที่ใช้แรงมากๆ

นักกีฬาทีมชาติที่เข้าแข่งขันซีเกมส์ เอเชี่ยนเกมส์ และโอลิมปิกเกมส์ ฝ่ายวิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย และฝ่ายแพทย์คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จะให้นักกีฬาทุกคนต้องผ่านการตรวจร่างกาย ก่อนเข้าสู่การแข่งขัน (Pre – Games หรือ Pre – Event medical Check – Up) ซึ่งก็ไม่ได้ตรวจหาโรคหัวใจด้วยการทำ Echocardiography (คลื่นเสียงความถี่สูง) ทุกราย ซึ่งหากเป็นกรณีที่มีกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวผิดปกติมาแต่กำเนิดแล้ว การตรวจร่างกายทั่วๆ ไป ก็ไม่สามารถค้นพบความผิดปกติได้ ดังเช่นที่มีการวิจัยพบว่า การตรวจร่างกายทั่วๆ ไป จะสามารถพบความผิดปกติของโรคหัวใจได้เพียง 3% เท่านั้น

สำหรับการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาหนักๆ ที่ต้องใช้แรงมากๆ ในทุกประเทศทั่วโลกนอกจากประเทศอิตาลีที่กล่าวไว้ที่มีกฎหมายบังคับเรื่องการตรวจเช็คร่างกายก่อนการแข่งขัน ประเทศอื่นๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย ไม่ได้มีกฎระเบียบให้นักกีฬาทุกคนต้องตรวจเช็คร่างกายอย่างละเอียด โดยเฉพาะเรื่องความผิดปกติของหัวใจ เพราะส่วนใหญ่นักกีฬาเหล่านี้เล่นกีฬามานานพอสมควร และส่วนใหญ่มีความแข็งแรงมากกว่าคนปกติทั่วไปอยู่แล้ว และความผิดปกติเหล่านี้ก็มีสถิติที่เกิดขึ้นไม่มาก

ในสัปดาห์หน้าผมขอนำเสนอต่อเกี่ยวกับการจัดบริหารทางการแพทย์ฉุกเฉินในการจัดการแข่งขันกีฬา (Emergency Service Stand-By) หลายๆประเภทในประเทศไทย ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ สวัสดีครับ

ผู้เขียน: นอ.(พิเศษ) นพ.ไพศาลจันทรพิทักษ์
Email: paisal@bangkokhospital.com

                                                                                                       จาก http://www.bangkokhealth.com
ความคิดเห็น :
1333
อ้างอิง

Sherrill
Heyy I know this is off topic but I was wondering iif you knew of any widgets I could add to my blog that automatically tweet my newest twitter updates. I've beesn looking for a plug-in like this for quite some time and was oping maybe you would have some experience with something like this. Please let me know if you run into anything. I truly enhjoy reading your blog and I look forward to your new updates.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://Www.Smfsimple.com/ultimateportaldemo/index.php?action=profile;u=945011
Sherrill [104.244.100.xxx] เมื่อ 26/04/2025 07:42
1334
อ้างอิง

Robert
I pay a qսiсk visit each day some web ρages and blogs to read artiⅽles, exceрt this web site gives quɑlity based articles.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://www.uniformfactory.ae/
Robert [89.251.23.xxx] เมื่อ 26/04/2025 19:58
1335
อ้างอิง

Mindy
We absolutely love your blog and find the majority of your post's to be exactly what I'm looking for. Do you offer guest writers to write content for you? I wouldn't mind producing a post or elaborating on many of the subjects you write about here. Again, awesome weblog!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://stpanther.com/
Mindy [156.242.34.xxx] เมื่อ 27/04/2025 17:23
1336
อ้างอิง

Maribel
Адвокат по уголовным делам
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://m.avito.ru/moskva/predlozheniya_uslug/advokat_po_ugolovnym_delam_3789924168
Maribel [38.152.163.xxx] เมื่อ 30/04/2025 21:34
1337
อ้างอิง

Darci
I was curious if you ever thought of changing the layout of your blog? Its very well written; I love what youve got to say. But maybe you could a little more in the way of content so people could connect with it better. Youve got an awful lot of text for only having 1 or two pictures. Maybe you could space it out better?
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://www.clubwin88.lol/
Darci [156.228.110.xxx] เมื่อ 3/05/2025 19:09
1338
อ้างอิง

Mickey
Have you ever considered about including a little bit more than just your articles? I mean, what you say is important and everything. But think of if you added some great visuals or videos to give your posts more, "pop"! Your content is excellent but with images and video clips, this blog could certainly be one of the greatest in its field. Great blog!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://buy-backlinks.rozblog.com/
Mickey [198.46.204.xxx] เมื่อ 4/05/2025 07:53
1339
อ้างอิง

Chassidy
Someone necessarily lend a hand to make significantly articles I might state. This is the first time I frequented your web page and so far? I surprised with the analysis you made to make this actual publish extraordinary. Fantastic process!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://buy-backlinks.rozblog.com/
Chassidy [50.3.221.xxx] เมื่อ 4/05/2025 08:25
1340
อ้างอิง

Mel
Good blog you've got here.. It's difficult to find excellent writing like yours these days. I really appreciate people like you! Take care!!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://www.youtube.com/
Mel [89.113.150.xxx] เมื่อ 5/05/2025 10:57
1341
อ้างอิง

Alonzo
I know this if off topic but I'm looking into starting my own blog and was curious what all is required to get setup? I'm assuming having a blog like yours would cost a pretty penny? I'm not very internet smart so I'm not 100% positive. Any suggestions or advice would be greatly appreciated. Many thanks
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://wilderwoodrestaurantandbar.com/
Alonzo [156.228.93.xxx] เมื่อ 8/05/2025 11:22
123456789101112131415161718192021222324252627282930313233343536373839404142434445464748495051525354555657585960616263646566676869707172737475767778798081828384858687888990919293949596979899100101102103104105106107108109110111112113114115116117118119120121
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/