สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท23/04/2024
ผู้เข้าชม5534477
แสดงหน้า7766564
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า

อ่าน 16925 | ตอบ 1
 
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
 

แอสตาแซนธิน – แคโรทีนอยด์ แซนโทรฟิลล์
ในธรรมชาติแหล่งแอสตาแซนธินที่เข้มข้นที่สุดพบอยู่ใน Microalgae สีเขียวสายพันธุ์  Haematococcus pluvialis ซึ่งมีสารแอสตาแซนธินสูงถึง 7% ของน้ำหนักเซลล์แห้ง Microalgae สีเขียวชนิดนี้อยู่ที่ฐานล่างสุดของห่วงโซ่อาหาร สาหร่ายชนิดนี้มีหน้าที่นำพลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้ร่วมกับแหล่งสารอินทรีย์ธรรมชาติเพื่อผลิตสสารและอาหารให้กับสิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลก โดยแอสตาแซนธินจะสะสมอยู่ในถุงไขมันของ Microalgae ในภาวะขาดแคลนสารอาหารและภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม แอสตาแซนธินทำหน้าที่ปกป้องนิวเคลียสของเซลล์จากรังสียูวีที่กระตุ้นให้เกิดภาวะ Oxidative Stress ซึ่งอาจนำไปสู่การทำลายดีเอ็นเอของตัวมันเอง และทำให้แหล่งพลังงานที่สะสมไว้เกิดปฏิกิริยาเพอร์ออกซิเดชั่นของไขมัน


สารจากแหล่งธรรมชาติ
แอสตาแซนธิน คือ สารแคโรทีนอยด์ธรรมชาติที่พบในสภาพแวดล้อมทางทะเลไปจนถึงแอ่งหินทั่วไป แอสตาแซนธินเป็นสารที่ทำให้เนื้อปลาแซลมอน กุ้ง และ กุ้งมังกรมีสีชมพูและสีแดง การรับแอสตาแซนธินและแคโรทีนอยด์ประเภทอื่นๆในสัตว์นั้นจะได้รับจากการกินอาหาร เนื่องจากพวกมันไม่สามารถผลิตแคโรทีนอยด์ได้ด้วยตัวเอง   ผู้ที่สามารถผลิตแอสตาแซนธินในธรรมชาติได้แก่ Microalgae รา และแบคทีเรียบางชนิดในขณะที่พืชจำนวนน้อยชนิดที่สามารถผลิตสารแอสตาแซนธินได้



พลังงานจากธรรมชาติสู่ชีวิตมนุษย์
ในธรรมชาติแหล่งแอสตาแซนธินที่เข้มข้นที่สุดพบอยู่ใน Microalgae สีเขียวสายพันธุ์  Haematococcus pluvialis ซึ่งมีสารแอสตาแซนธินสูงถึง 7% ของน้ำหนักเซลล์แห้ง Microalgae สีเขียวชนิดนี้อยู่ที่ฐานล่างสุดของห่วงโซ่อาหาร สาหร่ายชนิดนี้มีหน้าที่นำพลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้ร่วมกับแหล่งสารอินทรีย์ธรรมชาติเพื่อผลิตสสารและอาหารให้กับสิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลก โดยแอสตาแซนธินจะสะสมอยู่ในถุงไขมันของ Microalgae ในภาวะขาดแคลนสารอาหารและภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม แอสตาแซนธินทำหน้าที่ปกป้องนิวเคลียสของเซลล์จากรังสียูวีที่กระตุ้นให้เกิดภาวะ Oxidative Stress ซึ่งอาจนำไปสู่การทำลายดีเอ็นเอของตัวมันเอง และทำให้แหล่งพลังงานที่สะสมไว้เกิดปฏิกิริยาเพอร์ออกซิเดชั่นของไขมัน




การกำจัดอนุมูลอิสระและการปกป้องเยื่อหุ้มเซลล์ 



แอสตาแซนธินอยู่ในกลุ่มของแคโรทีนอยด์ ซึ่งมีวิถีสังเคราะห์ทางชีวภาพบางส่วนร่วมกับ เบต้า-แคโรทีน ดังนั้นสารทั้งสองชนิดจึงมีโครงสร้างเป็นสายโพลิอีน ซึ่งมีความสามารถในการกำจัดสารอนุมูลอิสระ แอสตาแซนธินเป็นสารที่อยู่ในกลุ่มย่อยของแซนโทรฟิลล์ ทั้งนี้เนื่องจากมีหมู่คีโต และ ไฮดรอกซี จับกับวงแหวนไอโซพรีน จึงทำให้แอสตาแซนธินสามารถปรับตัวเองอยู่ได้ทั้งส่วนที่เป็นไฮโดรฟิลิก(ชั้นน้ำ)และไฮโดรโฟบิก(ชั้นไขมัน)ได้อย่างเหมาะสม จึงมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าในการป้องกันผนังเซลล์แบบ Lipid bilayer จากปฏิกิริยาเพอรอกซิเดชัน ต่างกับเบต้า-แคโรทีน จะอยู่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นชั้นไขมันและวิตามินซีจะอยู่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นชั้นน้ำ

การยับยั้งปฏิกิริยา Lipid peroxidation



การเปรียบเทียบการใช้ Carotenoid ชนิดต่างๆในการกำจัดอนุมูลอิสระ พบว่าแอสตาแซนธินมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในการยับยั้งปฏิกิริยา Lipid peroxidation โดยใช้ปริมาณน้อยที่สุด
Miki, W. Pure&Appl.Chem., 1991;63(1):141-46

ความปลอดภัยของสารแอสตาแซนธิน
สารแอสตาแซนธินเป็นสารมีความปลอดภัยสูงสำหรับมนุษย์บริโภค เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งในมื้ออาหารของมนุษย์มายาวนานหลายพันปี ตัวอย่างเช่น เนื้อปลาแซลมอนที่มีสีเข้มขนาดหนึ่งหน่วยบริโภคจะมีสารแอสตาแซนธินบริสุทธิ์  3 - 6 มิลลิกรัม เป็นต้น การศึกษาความเป็นพิษโดยใช้สารสกัดแอสตาแซนธินหรืออาหารที่ผลิตจาก Microalgae Haematococcus sp. ที่อุดมไปด้วยแอสตาแซนธินพบว่า ไม่มีการแสดงผลข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์อย่างร้ายแรงใด นอกจากนี้ยังมีหลายการทดลองทางคลินิก ที่ให้ผู้เข้าร่วมการทดลองรับประทานอาหารที่ผลิตจาก Microalgae ที่อุดมไปด้วยแอสตาแซนธิน 40 มิลลิกรัมต่อวัน  นับตั้งแต่ปี 1995 มีการจำหน่ายแอสตาแซนธินในรูปแบบอาหารที่ผลิตจาก Microalgae ในกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย และมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สารสกัดแอสตาแซนธินตั้งแต่ปี 1999 โดยไม่มีการรายงานถึงผลกระทบทางด้านลบแต่อย่างใด

ศักยภาพของสารต้านอนุมูลอิสระ
ด้วยโครงสร้างทางเคมีรูปแบบจำเพาะเหมือนกับสารแคโรทีนอยด์ และความสามารถที่เหนือกว่าในการปรับตัวอยู่ในชั้นผนังเซลล์ได้ทั้งชั้นน้ำและชั้นไขมัน สารแอสตาแซนธินจึงมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระดังนี้


สูงกว่ากว่าวิตามินอี (แอลฟา-โทโคฟีรอล) 550 เท่า และสูงกว่า เบต้า-แคโรทีน 40 เท่า
 


สูงกว่าสารสกัดจากเม็ดองุ่น 17 เท่า

ศักยภาพในการต้านปฏิกิริยาเพอร์ออกซิเดทีฟที่ผนังเซลล์

 


ยับยั้ง NF-kB ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ

ยับยั้งความเสียหายของดีเอ็นเอ (8-OHdG)

 
การเปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ (วิตามินอีธรรมชาติ วิตามินเอ วิตามินซี เบต้าเเคโรทีน ไลโคปีน ลูทีน)
+
+
ป้องกันการเกิดเพอร์ออกซิเดชั่นของไขมันได้อย่างดีเยี่ยม
เป็นสารกำจัดสารอนุมูลอิสระที่แรงที่สุด
+
+
กระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
มีประสิทธิภาพช่วยป้องกันการอักเสบ

การป้องกันเมื่อใช้งานร่วมกับสารอื่น

- เมื่อใช้ร่วมกับไลโคปีน - แอสตาแซนธินสามารถต้านการออกซิเดชั่นได้ดีกว่าการใช้ไลโคปีน ลูเทอีน หรือ แอสตาแซนธินอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญ
- เมื่อใช้ร่วมกับกรดไลโปอิก เรสเวอราทรอล เออโกไธไอนีน กรดแอสคอร์บิก โสม กระเทียม แปะก๊วย12 - สามารถเพิ่มศักยภาพการต้านสารอนุมูลอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผลการทดสอบพบว่า สามารถป้องกันสารต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่า เมื่อใช้ร่วมกับโทโคไทรอีนอล

ความปลอดภัยสูงสุด : แคโรทีนอยด์ และโปร-ออกซิเดชั่น
สารแอสตาแซนธินจัดเป็น “สารต้านอนุมูลอิสระบริสุทธิ์” ไม่เหมือนกับสารแคโรทีนอยด์ประเภทอื่น เช่น เบต้า-แคโรทีน ลูทีน และ ไลโคปีน ซึ่งอาจจะแสดงลักษณะ “โปร-ออกซิเดทีฟ” ในบางสภาวะกลายเป็นสารอนุมูลอิสระ ที่สามารถโจมตีเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ได้ ตัวอย่างของโปรออกซิแดนท์ ได้แก่ มลภาวะทางอากาศ การโดนแสงอัลตราไวโอเลต คลื่นรังสี และการสูบบุหรี่ เป็นต้น

 


References
1. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl. Chem. 1991; 63: 141-6.
2. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7.
3. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001.
4. Goto S. et al., Efficient Radical Trapping at the Surface and Inside the Phospholipid Membrane is Responsible for Highly Potent Antiperoxidative Activity of the Carotenoid Astaxanthin. Biochim Biophys Acta. 2001; 1512(2):251-8.
5. Lee SJ. et al., Astaxanthin Inhibits Nitric Oxide Production and Inflammatory Gene Expression by Supressing IκB Kinase-dependent NF-κB Activation. Mol. Cells 2003; 16(1):97-105.
6. Naito Y., et al., Prevention of Diabetic Nephropathy by Treatment with Astaxanthin in Diabetic db/db Mice. BioFactors 2004; 20:49-59.
7. Naguib Y.M.A., Antioxidant activities of Astaxanthin and related carotenoids. J. Agric. Food.Chem. 2000, 48, 1150-1154.
8. Nishigaki I., et al., Suppressive effect of astaxanthin on lipid peroxidation induced in rats: J.Clin.Biochem.Nutr., 1994; 16,161-166.
9. Jyonouchi, H. et al., Studies of immunomodulating actions of carotenoids. II. Astaxanthin enhances in vitro antibody production to T-dependent antigens without facilitating polyclonal B-cell activation. Nutr. Cancer 1993; 19: 269-80.
10. Ohgami K., et al., Effects of astaxanthin on lipopolysaccharide-induced inflammation in vitro and in vivo. Invest Ophthalmol Vis Sci., 2003; 44: 2694-2701.
11. Lino et al., Kyoto 1991 ; In Japanese.
12. Babish J.G., Composition Exhibiting Synergistic Antioxidant Activity US Patent Applied 2000.
13. Babish J.G., Compositions Containing Carotenoids and Tocotrienols and having Synergistic Antioxidant Effect. US Patent Applied 2000.
14. Martin, H. D. et al., Chemistry of carotenoid oxidation and free radical reactions. Pure Appl., 1999 71(12):2253-2262.
 
   
สนใจผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับแอสตาแซนธิน(Astaxanthin) คลิ๊กสั่งซื้อได้ที่เวป
http://goodproduct.net/product/detail-108978.html

รือโทร 087-9393-689 หรือ 084-0068-422
ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง

โสดอยากสวย
ข้อมูลดีครับ ..
 
โสดอยากสวย [180.183.20.xxx] เมื่อ 26/04/2013 18:49
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/