สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท24/04/2024
ผู้เข้าชม5535236
แสดงหน้า7767433
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?

อ่าน 5580 | ตอบ 1
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
 

จากการวิจัยเมื่อเร็วๆนี้พบว่าความเสื่อมก่อนวัยและการเกิดโรค มีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั่วๆไป ซึ่งนั้นก็คือ “สารอนุมูลอิสระ”

 

สารอนุมูลอิสระ คือ รูปแบบหนึ่งของออกซิเจนซึ่งไม่เหมือนกับออกซิเจนที่เราหายใจเข้าไป มีโครงสร้างไม่เสถียร ว่องไว ทำให้สามารถสร้างพันธะกับสารอื่นได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นสาเหตุให้สารเหล่านั้นเกิดการเสื่อมสภาพ เรียกว่า “ออกซิเดชั่น”

เมื่อเกิดออกซิเดชั่นในร่างกายบ่อยๆและมากขึ้นก่อให้เกิดการเสื่อมถอยของร่างกาย ทั้งการเกิดริ้วรอยแห่งความชราก่อนวัยอันควรและโรคภัยไข้เจ็บต่างๆมากมาย เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ฯลฯ

สารอนุมูลอิสระมาจากไหน?

ในปัจจุบันวิธีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ร่างกายถูกทำร้ายด้วยสารอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและเป็นจำนวนมาก สาเหตุจากความเครียด แสงอัลตราไวโอเลต มลภาวะรวมทั้งควันพิษจากท่อไอเสียรถยนต์และจากขบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานให้แก่ร่างกาย โดยธรรมชาติร่างกายของเราจะผลิตสารต้านอนุมูลอิสระแต่จะผลิตน้อยลงเมื่อมีอายุมากขึ้น ซึ่งไม่เพียงพอที่จะกำจัดอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความเสื่อมถอยของเซลล์ต่างๆในร่างกาย จะเสื่อมมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการดูแลสุขภาพและสภาพร่างกายของแต่ละคน เช่นคนที่เครียดกับการทำงาน ไม่ดูแลตัวเองจะดูแก่เร็ว หรือบางคนยังคล่องแคล่ว ว่องไวแม้จะมีอายุมากแล้วก็ตาม แต่ร่างกายก็ใช้อนุมูลอิสระในการต่อสู้กับเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส ที่เข้าโจมตีร่างกาย แต่ถ้ามีมากเกินไปก็จะกลับมาทำร้ายร่างกายเสียเอง อนุมูลอิสระจึงเปรียบเสมือนดาบ 2 คมที่เกิดขึ้นในร่างกาย

ดังนั้นการป้องกันอนุมูลอิสระจะเกิดประโยชน์กับทุกคนเป็นการป้องกันและชะลอก่อนการเกิดโรคต่างๆ คงจะดีถ้าอายุยืนโดยไม่มีโรคภัยไข้เจ็บและ ร่างกายทำงานได้เต็มศักยภาพสูงสุดไม่ว่าจะอยู่ในช่วงอายุใดก็ตาม

 โดยธรรมชาติร่างกายของเราจะผลิตสารต้านอนุมูลอิสระและจะผลิตน้อยลงเมื่อมีอายุมากขึ้น ซึ่งไม่เพียงพอที่จำกำจัดอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว

ดังนั้นเราควรได้รับสารต้านอนุมูลอิสระ( Antioxidant) จากอาหารที่รับประทานเข้าไป เช่น การเลือกทานปลา สัตว์ที่มีเปลือกแข็ง ผัก ผลไม้ หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีขายอยู่ตามท้องตลาด ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น สารสกัดจากเมล็ดองุ่น สารสกัดจากชาเขียว เบตาแคโรทีน โคเอ็นไซม์ คิวเท็น วิตามิน E วิตามิน C

สารต้านอนุมูลอิสระคือสิ่งสำคัญ สามารถป้องกันและชะลอการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ รวมถึงการเกิดริ้วรอยที่ทำให้ดูแก่ชราก่อนวัยอันควร

เราควรให้ความสำคัญกับสารอาหารมากขึ้น โดยเฉพาะสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อการทำงานของส่วนต่างๆในร่างกายและมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งยังช่วยให้สุขภาพดี ดูดีทั้งจากภายนอกและภายในอีกด้วย 

เทคโนโลยีและความก้าวหน้าในโลกยุคใหม่ช่วยให้มนุษย์เรามีชีวิตความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายขึ้น แต่เคยสงสัยไหมว่าทำไมอัตราการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน กลับไม่ลดลง 

สถิติการตายของมนุษย์ด้วยโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และอีกหลาย ๆโรคยังครองอันดับต้น ๆ ของสาเหตุที่ทำให้มนุษย์เสียชีวิตทั้ง ๆ ที่โรคเหล่านี้ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ที่เป็นเช่นนี้เพราะสมดุลของชีวิตนั้นถูกทำลายไป 

อะไรเป็นสาเหตุให้สมดุลของมนุษย์ถูกทำลายไป

ท่ามกลางการใช้ชีวิตในโลกยุคใหม่ที่เต็มไปด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ แต่มนุษย์กลับต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพมากขึ้น ด้วยการที่ต้องทำงานแข่งกับเวลา อยู่ท่ามกลางสังคมที่เต็มไปด้วยการแข่งขันและมลภาวะที่เป็นพิษรอบด้าน 

มนุษย์ทำงาน หลาย ๆ ท่านใช้ชีวิตแบบเร่งรีบอาศัยอาหารสำเร็จรูปที่ล้วนผ่านการใช้สารเคมีและสีสันรูปลักษณ์ภายนอกเป็นตัวดึงดูด การต้องรีบตื่นแต่เช้าเพื่อเลี่ยงการจราจรที่คับคั่งและกลับถึงบ้านในเวลามืดค่ำ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยให้เกิดความเครียด วิตกกังวล พักผ่อนน้อย ส่งผลให้ระบบการทำงานของร่างกายแปรปรวน ซึ่งนำไปสู่การเจ็บป่วย ท้ายสุดก็มารักษากันที่ปลายเหตุโดยการกินยาซึ่งยาบางประเภทแฝงด้วยคุณ และโทษอันอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงโดยไม่รู้ตัว 

แท้จริงแล้ว ร่างกายมนุษย์เป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่ธรรมชาติได้สร้างให้มีระบบดูแลตัวเองโดยอัตโนมัติเพื่อสร้างสมดุลให้เกิดขึ้น เมื่อใดที่มีความผิดปกติกับเซลล์หรืออวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง ถ้าการแก้ไขอยู่ในระดับที่จะปรับสมดุลได้เอง อาการของโรคก็จะไม่เกิดขึ้นแต่หากว่ามีการเสื่อมสภาพสูงเกินกว่าที่ร่างกายจะปรับได้ อาการของโรคก็จะปรากฏขึ้นทำให้เราไม่สบายเจ็บป่วยขึ้น ซึ่งตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือการเกิดอนุมูลอิสสระ (Free Radicals) ในร่างกายซึ่งส่งผลให้เซลล์เสื่อม ซึ่งปฏิกิริยาที่ทำให้เกิดการเสื่อมของเซลล์เรียกว่า ออกซิเดชั่น (Oxidation) 

อนุมูลอิสสระ (Free Radicals) เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การเกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ความเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย ฯลฯ ทั้งนี้ร่างกายสามารถรับอนุมูลอิสสระได้จากหลายทางเช่น จากมลพิษในอากาศ ฝุ่นละออง ควันบุหรี่ ไอเสียรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม รังสีอุลตร้าไวโอเลตในแสงแดด ตลอดจนการรับประทานอาหารที่ไหม้เกรียม อาหารสำเร็จรูปที่มีสารกันบูด อาหารทอดในน้ำมันที่ใช้ซ้ำ ยาบางชนิด นอกจากนี้ยังรวมถึงความเครียดจากการทำงานและการดำเนินชีวิตในประจำวันอีกด้วย สิ่งเหล่านี้กระตุ้นให้เกิดสารอนุมูลอิสสระและปฏิกิริยาออกซิเดชั่นซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ

Reference:

1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.

สนใจผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับแอสตาแซนธิน(Astaxanthin) คลิ๊กสั่งซื้อได้ที่เวป
http://goodproduct.net/product/detail-108978.html

รือโทร 087-9393-689 หรือ 084-0068-422
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/