สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท19/04/2024
ผู้เข้าชม5532571
แสดงหน้า7764390
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

รับมือ 'ลมแดด เพลียแดด'

อ่าน 3937 | ตอบ 2

รับมือ 'ลมแดด เพลียแดด' 



เมื่อถึงเดือนเมษา...ความเจ็บป่วยชนิดหนึ่งที่มากับหน้าร้อนที่หลายๆคนมองข้ามได้แก่ ภาวะลมแดด เพลียแดด ทั้งที่มีอันตรายเป็นอย่างมากและเป็นสิ่งที่ป้องกันได้


ภาวะนี้เกิดขึ้นเมื่อร่างกายไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ เนื่องจากความร้อนที่มากเกินไปและเกิดการสูญเสียเหงื่อและสารน้ำไปอย่างมาก เมื่อพูดถึงโรคนี้บางท่านอาจคิดว่าน่าจะเกิดขึ้นกับทหารหรือนัก กีฬาที่ออกกำลังกลางแจ้งเท่านั้น แต่จริงๆแล้วยังเกิดในเด็กเล็กและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยอีกด้วย นอกจากนั้นนักท่องเที่ยวจากประเทศเมืองหนาว ที่ไม่คุ้นเคยกับอากาศร้อนอย่างบ้านเรา เมื่อมาถึงใหม่ๆ แล้วออกกำลังกายกลางแจ้ง หักโหมหรือออกแดดนานๆอาจเกิดอาการเหล่านี้ได้ เนื่อง จากร่างกายยังปรับตัวกับอากาศร้อนได้ไม่ดีพอ


โดยปรกติแล้วร่างกาย คนเรามีอุณหภูมิประมาณ 36-37 องศาเซลเซียส ถ้าอากาศร้อนมากจนร่างกายมีอุณหภูมิสูงขึ้นแต่ไม่ถึง 40 องศาเซลเซียส อาจเกิดอาการเพลียแดดได้ และ ถ้าสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส ร่วมกับเริ่มมีอาการทางสมอง เช่น ซึม สับสน ชักเกร็ง หรือหมดสติ เรียกว่าโรคลมแดด อาการ


อาการที่บ่งบอกว่าเป็นอาการเพลียแดด ได้แก่ ปวดศีรษะ มึนศีรษะ คลื่น ไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย ไม่มีแรง มีตะคริว และมีไข้แต่ต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียส อาการเพลียแดดเป็นสัญญาณเตือนว่าต้องรีบแก้ไข ก่อนที่จะเกิดลมแดดซึ่งมีอันตรายถึงชีวิตได้ อาการลมแดดมีความรุนแรงกว่าเพลียแดด ต้องได้รับการแก้ไขอย่างฉุกเฉิน ผู้ป่วยจะมีอาการเหมือน เพลียแดด แต่ตัวแดง ร้อนจัด (เกิน 40 องศาเซลเซียส) ผิวแห้งไม่มีเหงื่อ หอบหายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว มีอาการทางสมอง เช่น เห็นภาพหลอน สับสน หงุดหงิด ชัก หรือหมดสติ ภาวะนี้สามารถทำให้เกิดตับและไตวาย กล้ามเนื้อสลายตัว หัวใจเต้นผิดจังหวะ น้ำท่วมปอด เกิดลิ่มเลือดอุดตันในกระแสเลือด และช็อกได้ ปัจจัยเสี่ยง


ภาวะนี้เกิดได้กับทุกคนที่ถูกแดดจัดหรืออยู่ในที่ที่ร้อนจัดเป็นเวลานาน แต่ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ได้ง่าย ได้แก่ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนที่มีโรคประจำตัวบางอย่าง เช่น โรค หัวใจ โรคปอด โรคทางสมอง ผู้ที่เคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่ดี ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย ผู้ที่ติดเหล้า นักกีฬา คนงาน เกษตรกร หรือทหารที่ต้องออกกำลังอยู่กลางแจ้งเป็นเวลานาน นอก จากนั้นผู้ที่ได้รับยาบางชนิดอาจทำให้เกิดภาวะนี้ได้ง่ายขึ้นถ้าอยู่ในที่ร้อนนานๆ เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาระบาย ยากันชัก ยาทางจิตเวชบางชนิด ยาลดน้ำมูก แก้หวัด ยาลดความดัน ยาโรคหัวใจบางชนิด ยาไทรอยด์  การดูแลแก้ไข


หากพบผู้ที่น่าสงสัยว่ามีภาวะลมแดดดังข้างต้นต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล และในระหว่างนั้นควรดูแลผู้ป่วยโดย


1.รีบนำผู้ป่วยออกจากบริเวณที่อากาศร้อน นำเข้าที่ร่มหรือห้องแอร์ ถ้าไม่มีแอร์ให้เปิดพัดลมและหน้าต่างให้อากาศถ่ายเท      2.ถ้าผู้ป่วยยังไม่หมดสติให้ผู้ป่วยดื่มน้ำเย็น แต่ไม่ต้องให้ยาลดไข้แอสไพรินหรือพาราเซตามอล


3.พ่นละอองน้ำบนตัวผู้ป่วยและใช้พัดหรือพัดลมเป่า หรืออาจใช้ผ้าชุบน้ำเย็นเช็ดตัวผู้ป่วย


4.ถ้าผู้ป่วยชักเกร็งให้เอาสิ่งกีดขวางรอบตัวผู้ป่วยที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดอันตรายได้ออก


5.ถ้าผู้ป่วยหมดสติและอาเจียนให้จับศีรษะผู้ป่วยหันไปด้านข้าง เพื่อลดโอกาสการสำลัก การป้องกัน


1.หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายอย่างหนักติดต่อกันเป็นเวลานานในช่วงที่อากาศร้อนจัด ถ้าจะออกกำลังกายกลางแจ้งเลือกทำในช่วงเช้าหรือเย็น


2.ในช่วงที่อากาศร้อนควร สวมใส่เสื้อผ้าที่โปร่ง ไม่หนา ระบายอากาศดี สีอ่อน สวมหมวกหรือถือร่มกันแดด ใช้ครีมกันแดดที่มีค่า SPF สูงกว่า 15


3.ดื่มน้ำให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ ก่อนออกกำลังกาย


4.ถ้าเป็นนักท่องเที่ยวที่ไม่คุ้นเคยกับอากาศร้อนอย่าเพิ่งออกกำลังกายหักโหมในที่ร้อน เมื่อไปประเทศเมืองร้อนให้ร่างกายมีการปรับตัวอย่างน้อย 1-2 สัปดาห์


5.ผู้ที่มีโรคหรือรับประทานยาที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ที่ร้อนจัดเป็นเวลานาน


6.ผู้ที่ดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยหรือเด็กเล็กควรระมัดระวังเรื่องอุณหภูมิอากาศไม่ให้ร้อนอบอ้าว และควรให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ


ภาวะนี้เป็นภาวะที่อันตรายแก่ชีวิต แต่สามารถป้อง กันได้หากทุกคนมีความตระหนักและรู้วิธีการป้องกัน


 


ที่มา : หนังสือพิมพ์โลกวันนี้


ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/